SME ต้องรู้! คู่มือวางแผนภาษีสำหรับธุรกิจ

ภาษีเป็นรายได้หลักที่รัฐบาลนำมาจัดสรรเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ เช่น การศึกษา สาธารณสุข รวมถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น การสร้างถนน การพัฒนาแหล่งน้ำ และการให้เงินสนับสนุนธุรกิจ การเสียภาษีเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาที่มีรายได้ หรือ นิติบุคคล ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือคณะบุคคลอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายกับนิติบุคคล 

บทความนี้จะนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับภาษีธุรกิจ SME ครอบคลุมหัวข้อสำคัญต่างๆ เช่น ประเภทของภาษีสำหรับธุรกิจ การวางแผนบริหารภาษี วิธีการลดหย่อนภาษี ขั้นตอนการเสียภาษี เพื่อให้ SME เข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
 

ภาษีสำหรับธุรกิจ SME มีอะไรบ้าง?

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax) คือ ภาษีที่จัดเก็บจากกำไรสุทธิของธุรกิจ (กำไรสุทธิ = รายได้ – ค่าใช้จ่าย) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีคือผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจในรูปแบบของ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล โดยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับธุรกิจ SME มีรายละเอียดดังนี้
 

ลักษณะนิติบุคคล  กำไรสุทธิ (บาท) ต่อปี อัตราภาษี

SME ที่มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท และ/หรือ รายได้ (รายรับก่อนหักค่าใช้จ่าย)

ภายในรอบระยะเวลาบัญชี ยังไม่เกิน 30 ล้านบาท

0 - 300,000 ไม่ต้องเสีย
300,001 - 3 ล้าน 15%
มากกว่า 3 ล้าน 20%
นิติบุคคลทั่วไป ทั้งจำนวน 20%

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax) คือ ภาษีที่ผู้ว่าจ้างหรือผู้ประกอบการ ทั้งในกรณีของบุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.3) หรือนิติบุคคล (ภ.ง.ด.53)  มีหน้าที่หักจากเงินได้ของผู้รับจ้างแล้วนำส่งต่อกรมสรรพากร โดยอัตราการหักภาษี ณ ที่จ่ายจะแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบของค่าจ้าง

ตัวอย่างภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เช่น

ตัวอย่าง อัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
ดอกเบี้ยเงินกู้ 15% 1%
เงินได้จากการเช่าทรัพย์สิน 5%
เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ  3%
ค่านายหน้า 3%

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax) คือ ภาษีที่เก็บจากการประกอบกิจการหรือธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ซึ่งในที่นี้รวมถึงบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล เช่น 

  • ธนาคาร
  • ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
  • ประกันชีวิต
  • รับจำนำ
  • กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ
  • อสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร
  • หลักทรัพย์
  • อื่นๆเช่น ธุรกิจแฟคตอริ่ง

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax - VAT) คือภาษีที่เกิดจากกระบวนการผลิตหรือบริการทางธุรกิจ การคิดภาษีมูลค่าเพิ่มจะคิดจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นของกระบวนการผลิต ภาษีนี้จะถูกเรียกเก็บจากผู้บริโภคเมื่อทำการซื้อหรือรับบริการนั้น โดยธุรกิจ SME ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มกับกรมสรรพากร และมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มอยู่ที่ 7% 

อากรแสตมป์

อากรแสตมป์ (Revenue Stamp) คือ ภาษีที่จัดเก็บจากการกระทำตราสาร 28 ลักษณะ ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ เช่น ตราสารที่มีข้อความแสดงถึงการทำสัญญา สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าที่ดิน โดยกำหนดให้ผู้ให้กู้หรือผู้ให้เช่านั้นเป็นผู้มีหน้าที่เสียอากร ซึ่งสามารถอัพเดทเพิ่มเติมได้ที่บัญชีอัตราอากรแสตมป์

ภาษีธุรกิจ SME ต้องยื่นเมื่อไหร่?

ประเภท แบบยื่นรายการภาษี กำหนดการยื่นภาษี ค่าปรับหากเกินกำหนด
ภาษีเงินได้ ภ.ง.ด. 51 ยื่นทุก 6 เดือน ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุดท้ายของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี ไม่เกิน 4,000 บาท และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภ.ง.ด.50 ยื่นทุก12 เดือน ภายใน 150 วันนับจากวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภ.ง.ด.3
ภ.ง.ด.53
ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไปหลังจากเดือนที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย  200 บาท และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภ.ธ.40 ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับในเดือนนั้น หรือไม่ก็ตาม  ไม่เกิน 2,000 บาท พร้อมชำระค่าปรับเพิ่ม 2 เท่า ของเงินภาษีที่ไม่ได้ชำระ และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30 ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับในเดือนนั้น หรือไม่ก็ตาม  ไม่เกิน 600 บาท พร้อมชำระค่าปรับเพิ่ม 2%-20% ของภาษีเพิ่ม 2 เท่า และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
อากรแสตมป์ อ.ส. 4
อ.ส. 9
 
ยื่นทุกเดือน ภายใน 15 วัน  หลังจากกระทำตราสารเสร็จสมบูรณ์ ไม่เกิน 500 บาท

ในกรณีที่เจ้าของธุรกิจยื่นภาษีไม่ทันระยะเวลาที่กำหนด สามารถยื่นภาษีย้อนหลังผ่านระบบยื่นภาษีออนไลน์ของกรมสรรพากร และชำระภาษี พร้อมเงินเพิ่ม และเบี้ยปรับตามอัตราที่กำหนด แต่ถ้าหากเลยระยะเวลาจนได้รับหมายเรียกจากตำรวจเศรษฐกิจ เจ้าของกิจการจะต้องรีบไปรับทราบข้อกล่าวหาตามวันเวลาที่ระบุในหมายเรียก และชี้แจงเหตุผลที่ไม่สามารถชำระภาษี หากเจ้าของกิจการปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้อย่างถูกต้อง ก็จะสามารถลดความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดีทางกฎหมายได้

ภาษีธุรกิจ SME ยื่นได้ที่ไหน?

ผู้ประกอบการ SME ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีตามประเภทของภาษีที่กิจการต้องเสีย โดยสามารถยื่นแบบแสดงรายการภาษีได้ทางออนไลน์ www.rd.go.th หรือยื่นแบบแสดงรายการภาษีด้วยตนเองที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา และชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนด โดยสามารถชำระภาษีผ่านระบบ e-payment ผ่านเว็บไซต์กรมสรรพากร หรือชำระภาษีด้วยตนเองที่ธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

เตรียมความพร้อมวางแผนบริหารภาษีธุรกิจ SME อย่างไร?

แนวทางในการวางแผนบริหารภาษีธุรกิจ SME สามารถพิจารณา ดังนี้

จัดทำบัญชีอย่างถูกต้องและครบถ้วน

  • รวบรวม บันทึก และตรวจสอบบัญชี อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง
  • จัดทำงบการเงิน ผุ้ประกอบการที่เป็นนิติบุคคลมีหน้าที่นำส่งงบการเงินแก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยจะต้องจัดทำบัญชีตามมาตรฐานบัญชีประกอบด้วย บัญชีงบดุล, บัญชีทำการ, บัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งข้อมูลในบัญชีเหล่านี้มีความสำคัญต่อการกำหนดภาระภาษีที่ต้องชำระของกิจการ โดยรายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษีจะต้องสอดคล้องกับรายได้และค่าใช้จ่ายทางบัญชี
  • ใช้โปรแกรมบัญชี เพื่อช่วยให้สามารถบันทึกบัญชีได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ปัจจุบันมีให้บริการอยู่หลากหลายบริษัทเช่น FlowAccount, PEAKaccount

สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับธุรกิจ SME

ภาครัฐมีมาตรการภาษีต่างๆ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินธุรกิจของ SME ตัวอย่างการวางแผนภาษีธุรกิจ SME ที่ช่วยลดหย่อนภาษีได้ เช่น

ค่าใช้จ่าย สิทธิประโยชน์ทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หักรายจ่ายได้ 2 เท่า 
ของค่าใช้จ่ายจริง
 
ค่าใช้จ่ายในการจ้างงานผู้สูงอายุ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

สำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเช่นเดียวกับธุรกิจขนาดใหญ่ การเสียภาษีถูกต้องช่วยป้องกันความเสี่ยงทางกฎหมายและลดโอกาสที่จะต้องจ่ายค่าปรับในอนาคต ธุรกิจ SME ควรศึกษาข้อมูลอย่างรอบคอบ เพื่อนำมาใช้วางแผนและบริหารจัดการภาษีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหาแนวทางในการลดภาระค่าใช้จ่ายการดำเนินงานของธุรกิจได้

สำหรับผู้ประกอบการที่กำลังมองหาแหล่งเงินทุนเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ธุรกิจ การระดมทุนคราวด์ฟันดิงถือเป็นแหล่งเงินทุนใหม่ที่เหมาะกับ SME เพราะไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน เงื่อนไขยืดหยุ่น ง่าย และเร็ว ทราบผลภายใน 72 ชั่วโมงหลังส่งเอกสารครบ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่



SME ต้องรู้! คู่มือวางแผนภาษีสำหรับธุรกิจ

ภาษีเป็นรายได้หลักที่รัฐบาลนำมาจัดสรรเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ เช่น การศึกษา สาธารณสุข รวมถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น การสร้างถนน การพัฒนาแหล่งน้ำ และการให้เงินสนับสนุนธุรกิจ การเสียภาษีเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาที่มีรายได้ หรือ นิติบุคคล ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือคณะบุคคลอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายกับนิติบุคคล 

บทความนี้จะนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับภาษีธุรกิจ SME ครอบคลุมหัวข้อสำคัญต่างๆ เช่น ประเภทของภาษีสำหรับธุรกิจ การวางแผนบริหารภาษี วิธีการลดหย่อนภาษี ขั้นตอนการเสียภาษี เพื่อให้ SME เข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
 

ภาษีสำหรับธุรกิจ SME มีอะไรบ้าง?

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax) คือ ภาษีที่จัดเก็บจากกำไรสุทธิของธุรกิจ (กำไรสุทธิ = รายได้ – ค่าใช้จ่าย) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีคือผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจในรูปแบบของ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล โดยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับธุรกิจ SME มีรายละเอียดดังนี้
 

ลักษณะนิติบุคคล  กำไรสุทธิ (บาท) ต่อปี อัตราภาษี

SME ที่มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท และ/หรือ รายได้ (รายรับก่อนหักค่าใช้จ่าย)

ภายในรอบระยะเวลาบัญชี ยังไม่เกิน 30 ล้านบาท

0 - 300,000 ไม่ต้องเสีย
300,001 - 3 ล้าน 15%
มากกว่า 3 ล้าน 20%
นิติบุคคลทั่วไป ทั้งจำนวน 20%

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax) คือ ภาษีที่ผู้ว่าจ้างหรือผู้ประกอบการ ทั้งในกรณีของบุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.3) หรือนิติบุคคล (ภ.ง.ด.53)  มีหน้าที่หักจากเงินได้ของผู้รับจ้างแล้วนำส่งต่อกรมสรรพากร โดยอัตราการหักภาษี ณ ที่จ่ายจะแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบของค่าจ้าง

ตัวอย่างภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เช่น

ตัวอย่าง อัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
ดอกเบี้ยเงินกู้ 15% 1%
เงินได้จากการเช่าทรัพย์สิน 5%
เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ  3%
ค่านายหน้า 3%

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax) คือ ภาษีที่เก็บจากการประกอบกิจการหรือธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ซึ่งในที่นี้รวมถึงบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล เช่น 

  • ธนาคาร
  • ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
  • ประกันชีวิต
  • รับจำนำ
  • กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ
  • อสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร
  • หลักทรัพย์
  • อื่นๆเช่น ธุรกิจแฟคตอริ่ง

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax - VAT) คือภาษีที่เกิดจากกระบวนการผลิตหรือบริการทางธุรกิจ การคิดภาษีมูลค่าเพิ่มจะคิดจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นของกระบวนการผลิต ภาษีนี้จะถูกเรียกเก็บจากผู้บริโภคเมื่อทำการซื้อหรือรับบริการนั้น โดยธุรกิจ SME ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มกับกรมสรรพากร และมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มอยู่ที่ 7% 

อากรแสตมป์

อากรแสตมป์ (Revenue Stamp) คือ ภาษีที่จัดเก็บจากการกระทำตราสาร 28 ลักษณะ ตามที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ เช่น ตราสารที่มีข้อความแสดงถึงการทำสัญญา สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาเช่าที่ดิน โดยกำหนดให้ผู้ให้กู้หรือผู้ให้เช่านั้นเป็นผู้มีหน้าที่เสียอากร ซึ่งสามารถอัพเดทเพิ่มเติมได้ที่บัญชีอัตราอากรแสตมป์

ภาษีธุรกิจ SME ต้องยื่นเมื่อไหร่?

ประเภท แบบยื่นรายการภาษี กำหนดการยื่นภาษี ค่าปรับหากเกินกำหนด
ภาษีเงินได้ ภ.ง.ด. 51 ยื่นทุก 6 เดือน ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุดท้ายของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี ไม่เกิน 4,000 บาท และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภ.ง.ด.50 ยื่นทุก12 เดือน ภายใน 150 วันนับจากวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภ.ง.ด.3
ภ.ง.ด.53
ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไปหลังจากเดือนที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย  200 บาท และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภ.ธ.40 ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับในเดือนนั้น หรือไม่ก็ตาม  ไม่เกิน 2,000 บาท พร้อมชำระค่าปรับเพิ่ม 2 เท่า ของเงินภาษีที่ไม่ได้ชำระ และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30 ยื่นทุกเดือน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับในเดือนนั้น หรือไม่ก็ตาม  ไม่เกิน 600 บาท พร้อมชำระค่าปรับเพิ่ม 2%-20% ของภาษีเพิ่ม 2 เท่า และชำระเงินเพิ่มในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระ
อากรแสตมป์ อ.ส. 4
อ.ส. 9
 
ยื่นทุกเดือน ภายใน 15 วัน  หลังจากกระทำตราสารเสร็จสมบูรณ์ ไม่เกิน 500 บาท

ในกรณีที่เจ้าของธุรกิจยื่นภาษีไม่ทันระยะเวลาที่กำหนด สามารถยื่นภาษีย้อนหลังผ่านระบบยื่นภาษีออนไลน์ของกรมสรรพากร และชำระภาษี พร้อมเงินเพิ่ม และเบี้ยปรับตามอัตราที่กำหนด แต่ถ้าหากเลยระยะเวลาจนได้รับหมายเรียกจากตำรวจเศรษฐกิจ เจ้าของกิจการจะต้องรีบไปรับทราบข้อกล่าวหาตามวันเวลาที่ระบุในหมายเรียก และชี้แจงเหตุผลที่ไม่สามารถชำระภาษี หากเจ้าของกิจการปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้อย่างถูกต้อง ก็จะสามารถลดความเสี่ยงในการถูกดำเนินคดีทางกฎหมายได้

ภาษีธุรกิจ SME ยื่นได้ที่ไหน?

ผู้ประกอบการ SME ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีตามประเภทของภาษีที่กิจการต้องเสีย โดยสามารถยื่นแบบแสดงรายการภาษีได้ทางออนไลน์ www.rd.go.th หรือยื่นแบบแสดงรายการภาษีด้วยตนเองที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา และชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนด โดยสามารถชำระภาษีผ่านระบบ e-payment ผ่านเว็บไซต์กรมสรรพากร หรือชำระภาษีด้วยตนเองที่ธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

เตรียมความพร้อมวางแผนบริหารภาษีธุรกิจ SME อย่างไร?

แนวทางในการวางแผนบริหารภาษีธุรกิจ SME สามารถพิจารณา ดังนี้

จัดทำบัญชีอย่างถูกต้องและครบถ้วน

  • รวบรวม บันทึก และตรวจสอบบัญชี อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง
  • จัดทำงบการเงิน ผุ้ประกอบการที่เป็นนิติบุคคลมีหน้าที่นำส่งงบการเงินแก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยจะต้องจัดทำบัญชีตามมาตรฐานบัญชีประกอบด้วย บัญชีงบดุล, บัญชีทำการ, บัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งข้อมูลในบัญชีเหล่านี้มีความสำคัญต่อการกำหนดภาระภาษีที่ต้องชำระของกิจการ โดยรายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษีจะต้องสอดคล้องกับรายได้และค่าใช้จ่ายทางบัญชี
  • ใช้โปรแกรมบัญชี เพื่อช่วยให้สามารถบันทึกบัญชีได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ปัจจุบันมีให้บริการอยู่หลากหลายบริษัทเช่น FlowAccount, PEAKaccount

สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับธุรกิจ SME

ภาครัฐมีมาตรการภาษีต่างๆ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินธุรกิจของ SME ตัวอย่างการวางแผนภาษีธุรกิจ SME ที่ช่วยลดหย่อนภาษีได้ เช่น

ค่าใช้จ่าย สิทธิประโยชน์ทางภาษี
ค่าใช้จ่ายในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หักรายจ่ายได้ 2 เท่า 
ของค่าใช้จ่ายจริง
 
ค่าใช้จ่ายในการจ้างงานผู้สูงอายุ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

สำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเช่นเดียวกับธุรกิจขนาดใหญ่ การเสียภาษีถูกต้องช่วยป้องกันความเสี่ยงทางกฎหมายและลดโอกาสที่จะต้องจ่ายค่าปรับในอนาคต ธุรกิจ SME ควรศึกษาข้อมูลอย่างรอบคอบ เพื่อนำมาใช้วางแผนและบริหารจัดการภาษีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหาแนวทางในการลดภาระค่าใช้จ่ายการดำเนินงานของธุรกิจได้

สำหรับผู้ประกอบการที่กำลังมองหาแหล่งเงินทุนเพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้ธุรกิจ การระดมทุนคราวด์ฟันดิงถือเป็นแหล่งเงินทุนใหม่ที่เหมาะกับ SME เพราะไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน เงื่อนไขยืดหยุ่น ง่าย และเร็ว ทราบผลภายใน 72 ชั่วโมงหลังส่งเอกสารครบ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่

การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

เมื่อท่านเข้าชมเว็บไซต์ใดก็ตาม เว็บไซต์นั้นอาจจัดเก็บหรือดึงข้อมูลจากเบราว์เซอร์ของท่านซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของ cookie ข้อมูลเหล่านี้อาจเกี่ยวกับท่าน การตั้งค่าของท่าน อุปกรณ์ของท่าน หรือเพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานอย่างที่ท่านต้องการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนของท่านได้โดยตรง แต่ช่วยให้ท่านใช้งานเว็บตามความต้องการส่วนบุคคลได้มากยิ่งขึ้น โดยที่เราเคารพสิทธิความเป็นส่วนตัวของท่าน ท่านสามารถปิดการทำงานของ cookie บางประเภทได้ โปรดคลิกที่หัวข้อประเภทอื่นๆ เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมและเปลี่ยนการตั้งค่าเริ่มต้นในการใช้งาน cookie อย่างไรก็ตาม ท่านควรทราบว่าการปิดการทำงานของ cookie บางประเภทอาจส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์และบริการของเรา

ยอมรับทั้งหมด

จัดการการกำหนดลักษณะความยินยอม

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ เช่น การรักษาความปลอดภัย คุณสามารถปิดการใช้งานคุกกี้เหล่านี้ได้ด้วยการตั้งค่าในเว็บเบราว์เซอร์ แต่การตั้งค่าดังกล่าวอาจส่งผลต่อการทำงานของเว็บไซต์
รายละเอียดคุกกี้

คุกกี้ในส่วนการตลาด

คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์ เพื่อการนำเสนอบริการที่เกี่ยวข้องและตรงกับความสนใจของผู้ใช้บริการแต่ละราย สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานคุกกี้ชนิดนี้ สามารถดูได้ที่นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ยืนยันตัวเลือกของฉัน
Cookie Domain Description
XSRF-TOKEN www.investree.co.th คุกกี้นี้ตั้งค่าโดย Wix และใช้เพื่อความปลอดภัย
laravel_session www.investree.co.th laravel ใช้ laravel_session เพื่อระบุอินสแตนซ์ของเซสชันสำหรับผู้ใช้ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้
_gat .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ได้รับการติดตั้งโดย Google Universal Analytics เพื่อจำกัดอัตราคำขอและจำกัดการรวบรวมข้อมูลบนไซต์ที่มีการเข้าชมสูง
_ga .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ซึ่งติดตั้งโดย Google Analytics จะคำนวณข้อมูลผู้เข้าชม เซสชัน และแคมเปญ และยังติดตามการใช้งานไซต์สำหรับรายงานการวิเคราะห์ของไซต์ คุกกี้เก็บข้อมูลโดยไม่ระบุตัวตนและกำหนดหมายเลขที่สร้างขึ้นแบบสุ่มเพื่อระบุผู้เยี่ยมชมที่ไม่ซ้ำ
_gid .investree.co.th คุกกี้เก็บข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน ติดตั้งโดย Google Analytics คุกกี้ _gid จะเก็บข้อมูลว่าผู้เยี่ยมชมใช้งานเว็บไซต์อย่างไร ในขณะเดียวกันก็สร้างรายงานการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย ข้อมูลบางส่วนที่เก็บรวบรวม ได้แก่ จำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่เข้าชมโดยไม่ระบุตัวตน

 

ลงทะเบียน | นักลงทุน 



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว เข้าสู่ระบบ

Syariah financing funding Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Personal Loan Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Business Loan Register



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Syariah Business Financing Register



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Referrer Register




คุณมีบัญชีอยู่แล้ว Login

Issuer Registration



คุณมีบัญชีอยู่แล้ว เข้าสู่ระบบ

Pendaftaran Reseller Financing



Sudah punya akun? Login

ลืมรหัสผ่าน

Loan Solutions

Choose what suits your needs


Personal loan for daily needs

Borrow Up to:
บาท 50.000.000
  • Home Improvement
  • Educational loans
  • Vacation Loan
  • Wedding Loans
  • Medical Fees
  • Umroh's Journey
Make Your Dreams Come True

Business Loans as an Invoice Financing solution

Borrow Up to:
บาท 2.000.000.000
  • Interest ranging from 14%
  • Full funding within 72 hours
  • Transparent
Make Your Dreams Come True